แนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่พัฒนาสังคม กรมกิจการเด็กและเยาวชน 2561 (DCY)

(1 บทวิจารณ์จากลูกค้า)

395฿605฿

รูปแบบการสั่งชื้อ แนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่พัฒนาสังคม กรมกิจการเด็กและเยาวชน 2561 (DCY)

01. แบบไฟล์ PDF ราคา 395 บาท (จัดส่งทาง Email ภายใน 30 นาที)

02. แบบเล่มหนังสือ ราคา 585 บาท (จัดส่งโดย Kerry Express ภายใน 1–3 วัน)

03. แบบเล่มหนังสือ เก็บเงินปลายทาง ราคา 605 บาท (มีค่าบริการเพิ่ม 20 บาท [585+20=605] จัดส่งโดย Kerry Express ภายใน 1–3 วัน)

 

รายละเอียดเพิ่มเติม

แนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่พัฒนาสังคม กรมกิจการเด็กและเยาวชน 2561 (DCY)

แนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่พัฒนาสังคม กรมกิจการเด็กและเยาวชน 2561 (DCY) คู่มือเตรียมสอบสำหรับสอบเข้าบรรจุเข้าทำงานราชการ ในหน่วยงาน กรมกิจการเด็กและเยาวชน เนื้อหาปรับปรุงใหม่ล่าสุด ตามประกาศรับสมัครของหน่วยงาน มีสารบัญ และเลขหน้าระบุบอย่างชัดเจน เนื้อหากระชับ ตรงประเด็น อ่านและทำความเข้าใจได้ง่าย พร้อมเฉลยข้อสอบท้ายบท เรียบเรียงโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เหมาะสำหรับเตรียมตัวสอบแข่งขันเพื่อบรรจุรับราชการ (ปรับปรุงเนื้อหาตามประกาศรับสมัคร พฤษภาคม 2561) สามารถสั่งซื้อได้ที่ LINE ID : @booksdd

แนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่พัฒนาสังคม กรมกิจการเด็กและเยาวชน 2561 (DCY)

⁃ ความรู้เกี่ยวกับกรมกิจการเด็กและเยาวชน
⁃ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานพัฒนาสังคมและการจัดสวัสดิการสังคม ของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
⁃ สรุประเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ.2547
⁃ แนวข้อสอบ พร้อมเฉลย ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ.2547
⁃ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
⁃ แนวข้อสอบ พร้อมเฉลย พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
⁃ พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.2546 และฉบับเพิ่มเติม 2550
⁃ แนวข้อสอบ พร้อมเฉลย พรบ. ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.2546 และฉบับเพิ่มเติม 2550
⁃ พระราชบัญญัติ การคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ.2557
⁃ แนวข้อสอบ พร้อมเฉลย พรบ การคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ.2557
⁃ พระราชบัญยัติการควบคุมขอทาน 2559
⁃ แนวข้อสอบ พร้อมเฉลย พรบ.การควบคุมขอทาน 2559
⁃ พระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ.2511
⁃ แนวข้อสอบ พร้อมเฉลย พรบ จัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ.2511
⁃ พระราชบัญญัติวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พ.ศ.2556
⁃ แนวข้อสอบ พร้อมเฉลย พรบ.วิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พ.ศ.2556
⁃ สรุปสาระสำคัญพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
⁃ แนวข้อสอบ พร้อมเฉลย พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
⁃ ความรู้รอบตัว สถานการณ์บ้านเมืองปัจจุบัน
⁃ เทคนิคการสอบสัมภาษณ์
⁃ ไฟล์เสียง MP3 เทคนิคการแต่งกาย และ ตัวอย่างสคริปคำตอบ การสอบสัมภาษณ์เข้างานราชการ

รูปแบบการสั่งชื้อ ฟรีค่าจัดส่ง

01. แบบไฟล์ PDF ราคา 395 บาท (จัดส่งทาง Email ภายใน 30 นาที)

02. แบบเล่มหนังสือ ราคา 585 บาท (จัดส่งโดย Kerry Express ภายใน 1–3 วัน)

03. แบบเล่มหนังสือ เก็บเงินปลายทาง ราคา 605 บาท (มีค่าบริการเพิ่ม 20 บาท [585+20=605] จัดส่งโดย Kerry Express ภายใน 1–3 วัน)

 

ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม และขั้นตอนการชำระเงิน

แนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่พัฒนาสังคม บ้านพักเด็กและครอบครัว กรมกิจการเด็กและเยาวชน 2561 (DCY) รูปแบบการสั่งซื้อ
รูปแบบการสั่งซื้อ แนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่พัฒนาสังคม กรมกิจการเด็กและเยาวชน 2561 (DCY)

สรุปแนวข้อสอบ คู่มือเตรืยมสอบ เก็งข้อสอบ แนวข้อสอบราชการ พนักงานราชการ หน่วยงานรัฐ ปรับปรุงเนื้อหา ตามประกาศรับสมัครของหน่วยงาน ก่อนออกว่างจำหน่าย มีสารบัญ และเลขหน้าระบุบอย่างชัดเจน เนื้อหากระชับ ตรงประเด็น สามารถสั่งซื้อได้ที่ LINE ID : @booksdd อย่าลืมมี @ นำหน้าด้วยนะค่ะ


ความรู้เกี่ยวกับกรมกิจการเด็กและเยาวชน

ประวัติความเป็นมา

ปี 2506 รัฐบาลจัดตั้งศูนย์รวมการศึกษาวิจัยปัญหาเยาวชน เพื่อแก้ปัญหาการกระทำผิดของเด็กวัยรุ่นและส่งเสริมให้เยาวชนทั้งในและนอกระบบได้รับการพัฒนา เพื่อเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ ซึ่งต่อมาในปี 2511 ยกฐานะเป็นสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี และเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2529 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร ในขณะทรงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงเสด็จมาเป็นองค์ประธานเปิดอาคารสำนักงาน

ในช่วงระหว่างปี พ.ศ.2545 – 2558 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ดำเนินภารกิจด้านเด็กและเยาวชน ภายใต้โครงสร้างที่ส่วนราชการระดับกรม แบ่งหน้าที่ บทบาทและความรับผิดชอบทางด้านการกำหนดนโยบายและวิชาการออกจากด้านการนำนโยบายไปปฏิบัติเพื่อส่งเสริมความเชี่ยวชาญในงานเฉพาะด้าน แต่ด้วยข้อจำกัดในการปฏิบัติจริงไม่อาจแยกงานด้านการกำหนดนโยบาย และการนำนโยบายไปปฏิบัติออกจากกันอย่างสมบูรณ์ เป็นผลให้เกิดซ้ำซ้อน และไม่มีประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนภารกิจในภาพรวมต่อกลุ่มเป้าหมายด้านเด็กและเยาวชนอย่างเชื่อมโยงและบูรณาการกัน

ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินภารกิจยึด เด็กและเยาวชนเป็นศูนย์กลางอย่างมีเอกภาพเบ็ดเสร็จ กรมกิจการเด็กและเยาวชน (ดย.) สังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) จึงได้รับการจัดตั้งขึ้นในวันที่ 6 มีนาคม 2558 ตามพระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2558 ซึ่งเป็นการรวมภารกิจที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มเป้าหมายด้านเด็กและเยาวชน จาก 3 หน่วยงานในสังกัด พม. คือ สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ (สท.) กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ (พส.) และสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ (สป.พม.) และเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2558 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ได้ปรับเปลี่ยนโครงสร้าง โดยมีการรวบรวมและยกระดับหน่วยงานด้านเด็กและเยาวชนเป็น “กรมกิจการเด็กและเยาวชน”

กรมกิจการเด็กและเยาวชน จึงเป็นหน่วยงานเชิงนโยบายและปฏิบัติ ที่มีภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของเด็กและเยาวชน การคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิเด็กและเยาวชน การส่งเสริมสวัสดิการเด็ก เยาวชน และครอบครัว โดยการกำหนด นโยบาย มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุนภาครัฐและภาคเอกชน ติดตามและประเมินผลการดำเนินการตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีความมั่นคงในการดำรงชีวิต

วิสัยทัศน์ ค่านิยมและพันธกิจ

วิสัยทัศน์
เด็กและเยาวชนมีความเป็นพลเมือง เก่ง ดี มีสุข และสร้างสรรค์

ค่านิยม
มองไกล ก้าวทัน มีความเชี่ยวชาญ จิตมุ่งบริการ ยึดมั่นคุณธรรม เน้นการมีส่วนร่วม

พันธกิจ
1) พัฒนานโยบายและมาตรการด้านเด็กและเยาวชนในเชิงรุก
2) ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาเสริมสร้างทักษะชีวิตเด็กและเยาวชนที่จำเป็นในการดำรงชีวิตตามช่วงวัย
3) พัฒนาและเชื่อมโยงระบบคุ้มครองเด็กและเยาวชนให้ครอบคลุมทั่วประเทศ
4) พัฒนาระบบสวัสดิการเด็กและเยาวชนที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย
5) การบูรณาการภาคีเครือข่ายเพื่อแก้ไขปัญหาเชิงประเด็น (Agenda Base)
6) พัฒนาบุคลากร และระบบบริหารองค์กรให้มีสมรรถนะสูง

ยุทธศาสตร์ ดย. (ตามแผนกลยุทธ์ กรมกิจการเด็กและเยาวชน) ประจำปี ๒๕๖๑

ภารกิจ

กรมกิจการเด็กและเยาวชน มีภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ของเด็กและเยาวชน การคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิเด็กและเยาวชน การส่งเสริมสวัสดิการเด็กและ ครอบครัว โดยการกําหนดนโยบาย มาตรการ กลไก ส่งเสริมและสนับสนุนภาครัฐและภาคเอกชน ติดตามและประเมินผลการดําเนินการตามนโยบายและมาตรการที่กําหนด เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีความมั่นคงในการดํารงชีวิต โดยให้มีอํานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 

     (๑) เสนอแนะนโยบาย แนวทาง เสริมสร้างมาตรการและกลไกในการส่งเสริมและพัฒนา ศักยภาพ การคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิเด็กและเยาวชน และการส่งเสริมสวัสดิการเด็กและครอบครัว

     (๒) กําหนดมาตรฐานการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ การคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเด็กและเยาวชน และการส่งเสริมสวัสดิการเด็กและครอบครัว ให้สอดคล้องกับกระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคมโลก พันธกรณี ความตกลง และความร่วมมือระหว่างประเทศ กํากับดูแล ติดตาม และประเมินผล การดําเนินงานให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กําหนด

     (๓) พัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ การคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิเด็กและเยาวชน และการส่งเสริมสวัสดิการเด็กและครอบครัว

     (๔) ดําเนินการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรม เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ การคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิเด็กและเยาวชน         การส่งเสริมสวัสดิการเด็กและครอบครัว และบทบาททางสังคมของเด็กและเยาวชน

     (๕) บริหารจัดการและพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ และเป็นศูนย์กลางข้อมูล ด้านเด็กและเยาวชน รวมทั้งที่เป็นกลุ่มเสี่ยง
กลุ่มที่มีปัญหาทางสังคม กลุ่มที่ประสบภัยสังคม กลุ่มที่พึงได้รับการช่วยเหลือ คุ้มครอง สงเคราะห์ พัฒนาและฟื้นฟู และการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม

     (๖) จัดบริการสวัสดิการสังคม การสังคมสงเคราะห์ การให้คําปรึกษาแนะนํา การให้ความช่วยเหลือ และการแก้ไขปัญหาแก่กลุ่มเด็กและเยาวชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยง กลุ่มที่ประสบภัยสังคม และกลุ่มที่มีปัญหาทางสังคม รวมทั้งประสานส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

     (๗) พัฒนารูปแบบ วิธีการบริการสวัสดิการสังคม และการสังคมสงเคราะห์เด็ก เยาวชน และครอบครัว ให้สอดคล้องกับมาตรฐานที่กําหนด

     (๘) จัดให้มีบ้านพักเดกและครอบครัว สถานรับเลี้ยงและพัฒนาเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนาและฟื้นฟู ในการบริการและให้การช่วยเหลือ สงเคราะห์ คุ้มครองสวัสดิภาพ พัฒนา ฟื้นฟู และจัดบริการสังคมแก่เด็กและครอบครัวที่ประสบปัญหา

     (๙) เป็นศูนย์กลางในการให้ความช่วยเหลือ คุ้มครองและดําเนินการในการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม

     (๑๐) ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานด้านการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของเด็กและเยาวชน การคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิเด็กและเยาวชน และการส่งเสริมสวัสดิการเด็กและครอบครัว

     (๑๑) ประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนทางวิชาการ ข้อมูล เทคโนโลยี การให้คําปรึกษาแนะนํา และให้ความช่วยเหลือ รวมทั้งการติดตามและประเมินผลการดําเนินการของเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ การคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิเด็กและเยาวชนตามกฎหมาย และการส่งเสริมสวัสดิการเด็กและครอบครัว

ที่มา http://dcy.go.th/webnew/main/index.php

 

Loading

ข้อมูลเพิ่มเติม

รูปแบบ

เก็บเงินปลายทาง, เล่มหนังสือ, แบบไฟล์ PDF

แนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่พัฒนาสังคม กรมกิจการเด็กและเยาวชน 2561 (DCY) จาก 1 รีวิว

  1. webmaster

    เนื้อหาปรับปรุง 2561 ตามประกาศรับสมัครล่าสุด

เพิ่มบทวิจารณ์

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.