แนวข้อสอบ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีปฏิบัติการ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์【ธ.ค. 2561】

(1 บทวิจารณ์จากลูกค้า)

395฿605฿

รูปแบบการสั่งชื้อ แนวข้อสอบ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีปฏิบัติการ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ พร้อมเฉลย | อัพเดทล่าสุด ธ.ค. 2561

คำอธิบาย

แนวข้อสอบ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีปฏิบัติการ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ พร้อมเฉลย | อัพเดท ธ.ค. 2561

แนวข้อสอบ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีปฏิบัติการ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ (กตส.) พร้อมเฉลย | อัพเดทล่าสุด ธ.ค. 2561 คู่มือเตรียมสอบสำหรับสอบเข้าบรรจุรับราชการ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ (กตส.) เนื้อหาปรับปรุงใหม่ล่าสุด ตามประกาศรับสมัครของหน่วยงาน มีสารบัญ และเลขหน้าระบุบอย่างชัดเจน เนื้อหากระชับ ตรงประเด็น อ่านและทำความเข้าใจได้ง่าย พร้อมเฉลยข้อสอบท้ายบท เรียบเรียงโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เหมาะสำหรับเตรียมตัวสอบแข่งขันเพื่อบรรจุรับราชการ (ปรับปรุงเนื้อหาตามประกาศรับสมัคร ธ.ค. 2561) สามารถสั่งซื้อได้ที่ LINE ID : @booksdd 

เนื้อหาภายในเล่ม แนวข้อสอบ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีปฏิบัติการ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ กตส. พร้อมเฉลย | อัพเดทล่าสุด ธ.ค. 2561

ความรู้เกี่ยวกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ์

ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชีและการจัดทำรายงานทางการเงินตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชีกำหนด และ แนวข้อสอบพร้อมเฉลย

แนวข้อสอบ + พร้อมเฉลย ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชีและการจัดทำรายงานทางการเงินตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชีกำหนด

ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการสอบบัญชีและจรรยาบรรณทางวิชาชีพตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชีกำหนด

– แนวข้อสอบ + พร้อมเฉลย ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการสอบบัญชีและจรรยาบรรณทางวิชาชีพตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชีกำหนด

พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ..2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.. 2553

แนวข้อสอบ พรบ.สหกรณ์ พ..2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.. 2553

พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ..2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.. 2551

แนวข้อสอบ พรบ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ..2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.. 2551

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ฉบับที่ 2 .. 2560

แนวข้อสอบ พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ฉบับที่ 2 .. 2560

สรุปประมวลรัษฎากร

แนวข้อสอบประมวลรัษฎากร

ความรู้รอบตัว สถานการณ์บ้านเมืองปัจจุบัน

เทคนิคการสอบสัมภาษณ์

ไฟล์เสียง MP3 เทคนิคการแต่งกาย และ ตัวอย่างสคริปคำตอบ การสอบสัมภาษณ์เข้างานราชการ

สรุปแนวข้อสอบ คู่มือเตรืยมสอบ เก็งข้อสอบ แนวข้อสอบราชการ พนักงานราชการ หน่วยงานรัฐ ปรับปรุงเนื้อหา ตามประกาศรับสมัครของหน่วยงาน ก่อนออกว่างจำหน่าย มีสารบัญ และเลขหน้าระบุบอย่างชัดเจน เนื้อหากระชับ ตรงประเด็น สามารถสั่งซื้อได้ที่ LINE ID : @booksdd อย่าลืมมี @ นำหน้าด้วยนะค่ะ


ประวัติความเป็นมา

งานของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ เริ่มมีขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ.2459 อยู่ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ซึ่งในขณะนั้นงาน การตรวจบัญชีสหกรณ์ อยู่ในความรับผิดชอบของ แผนกงานสหกรณ์ กรมพาณิชย์ และสถิติพยากรณ์ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และต่อมา เมื่อมีการปรับปรุงกระทรวง ทบวงกรมใหม่ จึงได้รับการ เลื่อนฐานะเป็น กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ อยู่ในสังกัดของ กระทรวงการสหกรณ์ เมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2495 ซึ่งต่อมา ก็ได้เปลี่ยนไป ขึ้นอยู่กับ กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ ในปี พ.ศ.2506 และเมื่อมี การยุบกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติในปีพ.ศ. 2515 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ก็เปลี่ยนมาขึ้นอยู่กับ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จนถึงปัจจุบันนี้

ระบบการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ แต่เดิมนั้น ผู้ตรวจสอบบัญชี ทั้งหมดจะรวมกัน อยู่ที่ สำนักงานใหญ่ ของกรมฯ ใน กรุงเทพฯ เพียงแห่งเดียว และจะเดินทางออกไปเพื่อทำ การตรวจบัญชี ในจังหวัดต่างๆ เพียงปีละครั้ง หรือสองครั้งเท่านั้น แต่ละครั้ง จะใช้เวลาประมาณ 60 ถึง 90 วันซึ่งก็เป็นผลให้ การปฏิบัติงานเป็นไป ไม่คล่องตัวเท่าที่ควร จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2524 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จึงได้เริ่มกระจายงานการตรวจสอบบัญชี ออกไปยังส่วนภูมิภาค โดยการจัดตั้ง สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ ประจำจังหวัด ขึ้นเพื่อให้ความช่วยเหลือแนะนำด้านการเงิน การบัญชี ให้สถาบันเกษตรกร ได้อย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้น ปัจจุบัน กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ มีสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ประจำอยู่ ทุกจังหวัดทั่วประเทศ โดยมีสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1 – 10 ทำหน้าที่คอยกำกับดูแลการปฏิบัติงานของสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ ซึ่งอยู่ในสังกัด

พันธกิจ
  1. พัฒนาระบบการตรวจสอบบัญชีและระบบควบคุมคุณภาพการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ให้เป็นไปตาม มาตรฐานสากล
  2. พัฒนามาตรฐานการบัญชีสหกรณ์และส่งเสริมความรู้การจัดทำบัญชีและการบริหารจัดการด้านการเงิน การบัญชีแก่สหกรณ์และเกษตรกร
  3. เสริมสร้างเสถียรภาพทางการเงินและระบบการควบคุมภายในที่ดีแก่สหกรณ์
  4. พัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลและการเตือนภัยทางการเงินแก่สหกรณ์
  5. พัฒนาระบบการให้คำปรึกษาแนะนำด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์และเกษตรกร
ภารกิจตามกฏหมาย
  1. ดำเนินการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น ที่เกี่ยวข้อง
  2. กำหนดระบบบัญชีและมาตรฐานการสอบบัญชีให้เหมาะสมกับธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
  3. ให้คำปรึกษาแนะนำและให้ความรู้ด้านการบริหารการเงินและการบัญชีแก่คณะกรรมการและสมาชิกของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรและบุคลากรเครือข่าย
  4. ถ่ายทอดความรู้และส่งเสริมการจัดทำบัญชีให้แก่สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มอาชีพ วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเป้าหมายตาม โครงการพระราชดำริ เกษตรกร และประชาชนทั่วไป
  5. กำกับดูแลการสอบบัญชีสหกรณ์โดยผู้สอบบัญชีภาคเอกชน
  6. จัดทำรายงานภาวะเศรษฐกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อเป็นพื้นฐานในการกำหนดนโยบาย และวางแผนพัฒนาสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร
  7. ปฏิบัติการอื่นใดที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ หรือตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
ยุทธศาสตร์กรมตรวจบัญชีสหกรณ์
การกำหนดกลยุทธ์ตามยุทธศาสตร์กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 4 ยุทธศาสตร์ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ กำหนดได้เป็น 25 กลยุทธ์ ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : คุณประโยชน์ของการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลจะต้องเป็นที่ประจักษ์อย่างชัดเจน และนำไปสู่การพัฒนาสหกรณ์ได้อย่างเป็นรูปธรรม กลยุทธ์
  1. สร้างความเชื่อมั่นและโปร่งใสให้กับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
  2. พัฒนาระบบการตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ให้มีประสิทธิภาพ
  3. เพิ่มขีดความสามารถในการจัดทำบัญชี งบการเงิน และยกระดับชั้นคุณภาพ การควบคุมภายในของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
  4. พัฒนามาตรฐานการบัญชีสหกรณ์ให้ก้าวทันมาตรฐานการบัญชี และสามารถนำไปใช้ กับสหกรณ์ ได้อย่างเหมาะสมและบังเกิดผล
  5. ส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์ตระหนักและมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการดำเนินการ ของสหกรณ์
  6. พัฒนาวิสาหกิจชุมชนให้เข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : สร้างผู้บริหารสหกรณ์เพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนาสหกรณ์แห่งอนาคต กลยุทธ์
  1. สร้างจิตสำนึกในการเป็นผู้บริหารสหกรณ์ที่ดีแก่คณะกรรมการสหกรณ์
  2. พัฒนาสมรรถนะฝ่ายบริหารสหกรณ์ให้สามารถใช้ข้อมูลการเงินการบัญชี เพื่อบริหารสหกรณ์อย่างมืออาชีพ
  3. พัฒนาผู้บริหารสหกรณ์ให้มีความสามารถในการกำกับและติดตามการปฏิบัติงาน ของฝ่ายจัดการ
  4. ผลักดันให้สหกรณ์ใช้ประโยชน์จากรายงานการตรวจสอบบัญชีและรายงาน การตรวจสอบกิจการ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 : คุณประโยชน์ของการทำบัญชีและบริหารการเงินที่มีคุณภาพ จะต้องเป็นที่ประจักษ์ ต่อเกษตรกรอย่างกว้างขวาง ชัดเจน และเข้าถึงได้ กลยุทธ์
  1. สร้างความตระหนักรู้ประโยชน์การจัดทำบัญชีแก่เกษตรกร
  2. นำคุณค่าการจัดทำบัญชีสู่เกษตรกรอย่างยั่งยืน
  3. สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ที่ทำบัญชีได้ใช้บัญชีเป็น
  4. ส่งเสริมการพัฒนาเครือข่ายด้านบัญชี
  5. ส่งเสริมการจัดทำบัญชีแก่กลุ่มเป้าหมายตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 : มีระบบบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพในการรองรับภารกิจที่ เร่งด่วน ท้าทาย และเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และสามารถสร้างความเป็น AUDITOR ให้ มีความชัดเจน และเป็นจริง กลยุทธ์
  1. ผลักดันให้มีการปรับปรุงโครงสร้างและระบบการบริหารจัดการองค์กรที่เหมาะสม กับสถานการณ์
  2. ปรับระบบบริหารทรัพยากรบุคคลและผลักดันให้นำไปสู่การปฏิบัติ
  3. ปรับระบบการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์
  4. ปรับระบบการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสู่การปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ
  5. สร้างต้นแบบ Smart Cooperative Auditing Office
  6. จัดตั้งหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ (Service Delivery Unit : SDU) รองรับการจัดจ้าง ผู้สอบบัญชีภาคเอกชน
  7. พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  8. ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา
  9. รณาการกำกับดูแลการป้องกันปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้าน การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย
  10. สร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กรด้านสหกรณ์ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ
ROAD MAP

แผนปฏิบัติราชการ

งบประมาณ รายจ่ายประจำปี
แบบรายงานแผนและผลการปฏิบัติงาน

Loading

ข้อมูลเพิ่มเติม

รูปแบบ

เก็บเงินปลายทาง, เล่มหนังสือ, แบบไฟล์ PDF

แนวข้อสอบ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีปฏิบัติการ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์【ธ.ค. 2561】 จาก 1 รีวิว

  1. webmaster

    อัพเดทใหม่ล่าสุด

เพิ่มบทวิจารณ์

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.