คำอธิบาย
แนวข้อสอบ นักวิชาการขนส่ง ด้านกฏหมาย กรมท่าอากาศยาน 2561 (AIRPORTS)
แนวข้อสอบ นักวิชาการขนส่ง ด้านกฏหมาย กรมท่าอากาศยาน 2561 (AIRPORTS) คู่มือเตรียมสอบสำหรับสอบเข้าบรรจุเข้าทำงานราชการ ในหน่วยงานกรมท่าอากาศยาน เนื้อหาปรับปรุงใหม่ล่าสุด ตามประกาศรับสมัครของหน่วยงาน มีสารบัญ และเลขหน้าระบุบอย่างชัดเจน เนื้อหากระชับ ตรงประเด็น อ่านและทำความเข้าใจได้ง่าย พร้อมเฉลยข้อสอบท้ายบท เรียบเรียงโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เหมาะสำหรับเตรียมตัวสอบแข่งขันเพื่อบรรจุรับราชการ (ปรับปรุงเนื้อหาตามประกาศรับสมัคร เมษายน 2561) สามารถสั่งซื้อได้ที่ LINE ID : @booksdd
-
-
ความรู้ทั่วไป ภาค ก. วิชาคณิตศาสตร์ วิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ
-
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
-
แนวข้อสอบ พร้อมเฉลย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
-
พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ.2497 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
-
แนวข้อสอบ พร้อมเฉลย พ.ร.บ.การเดินอากาศ พ.ศ.2497 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
-
ความรู้เกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. 2539
-
แนวข้อสอบ พร้อมเฉลย ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. 2539
-
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
-
แนวข้อสอบ พร้อมเฉลย พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
-
พระราชบัญญัติระเบียบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม
-
แนวข้อสอบ พร้อมเฉลย พรบ.ระเบียบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม
-
ความรู้รอบตัว สถานการณ์บ้านเมืองปัจจุบัน
-
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์
-
ไฟล์เสียง MP3 เทคนิคการแต่งกาย และ ตัวอย่างสคริปคำตอบ การสอบสัมภาษณ์เข้างานราชการ
รูปแบบการสั่งชื้อ ฟรีค่าจัดส่ง
01. แบบไฟล์ PDF ราคา 395 บาท (จัดส่งทาง Email ภายใน 30 นาที)
02. แบบเล่มหนังสือ ราคา 585 บาท (จัดส่งโดย Kerry Express ภายใน 1–3 วัน)
03. แบบเล่มหนังสือ เก็บเงินปลายทาง ราคา 605 บาท (มีค่าบริการเพิ่ม 20 บาท [585+20=605] จัดส่งโดย Kerry Express ภายใน 1–3 วัน)
สรุปแนวข้อสอบ คู่มือเตรืยมสอบ เก็งข้อสอบ แนวข้อสอบราชการ พนักงานราชการ หน่วยงานรัฐ ปรับปรุงเนื้อหา ตามประกาศรับสมัครของหน่วยงาน ก่อนออกว่างจำหน่าย มีสารบัญ และเลขหน้าระบุบอย่างชัดเจน เนื้อหากระชับ ตรงประเด็น สามารถสั่งซื้อได้ที่ LINE ID : @booksdd อย่าลืมมี @ นำหน้าด้วยนะค่ะ
ความรู้เกี่ยวกับกรมท่าอากาศยาน
ประวัติกรมท่าอากาศยาน
- พ.ศ. 2456 กระทรวงกลาโหม ได้เริ่มงานกิจการการบินอย่างจริงจัง โดยตั้ง “แผนกการบิน” เพื่อทำหน้าที่
- พ.ศ. 2462 มีพระบรมราชโองการดำรัสสั่งว่า ให้กระทรวงกลาโหม ซึ่งมีกรมอากาศยานทหารบกร่วมอยู่ด้วยนั้น เป็นเจ้าหน้าที่อำนวยการในกิจซึ่งเกี่ยวกับเรื่องเดินอากาศทั้งปวงโดยตลอด
- พ.ศ. 2464 ให้เปลี่ยนชื่อจาก กรมอากาศยานทหารบก เป็นกรมอากาศยาน
- พ.ศ. 2476 ได้มีการปรับปรุงระเบียบราชการบริหารขึ้นใหม่ ตามพระราชบัญญัติ จัดตั้งกระทรวงและกรมขึ้นไว้ โดยกรมการขนส่งแบ่งส่วนราชการเป็นสำนักงานเลขานุการกรม และกองการบินพลเรือน
- พ.ศ. 2485 ได้มีการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาจัดวางระเบียบราชการในกรมการขนส่ง โดยมีกองขนส่งทางอากาศ ทำหน้าที่ควบคุมการขนส่งทางอากาศทั้งในและนอกประเทศ
- พ.ศ. 2497 มีพระราชกฤษฎีกา จัดวางระเบียบราชการกรมการขนส่งในกระทรวงคมนาคมใหม่ จึงได้มี “สำนักงานการบินพลเรือน” มีฐานะเทียบเท่ากองและมีการแบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น 3 กอง คือ กองเทคนิค กองควบคุมการจราจรทางอากาศ และกองบริการขนส่งทางอากาศ
- พ.ศ. 2506 ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2506 ขึ้นในส่วนของกระทรวงคมนาคม ได้ยกฐานะสำนักงานการบินพลเรือนขึ้นเป็นกรมการบินพาณิชย์ ทำหน้าที่ส่งเสริม และพัฒนาด้านการบินพลเรือนรวมทั้งพัฒนาท่าอากาศยานต่างๆ เพื่อใช้ในกิจการบินพลเรือนเกือบ 30 แห่ง
กิจการการบินพลเรือนมีการพัฒนามากขึ้นเรื่อยๆ และเพื่อให้การดำเนินการบริหารมีความคล่องตัว กรมการบินพาณิชย์จึงได้โอนงานในความรับผิดชอบบางส่วนให้หน่วยงานต่างๆบริหารในรูปของรัฐวิสาหกิจ เช่น โอนงานบริหารท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ท่าอากาศยานภูเก็ต ให้ บริษัท ท่าอากาศไทย จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบ เป็นต้น
- พ.ศ. 2545 ได้มีการเปลี่ยนชื่อจาก “กรมการบินพาณิชย์” เป็น “กรมขนส่งทางอากาศ” ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545
- พ.ศ. 2552 มีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนชื่อ “กรมการขนส่งทางอากาศ” เป็น “กรมการบินพลเรือน” เพื่อให้เหมาะสมสอดคล้องกับภารกิจด้านการบิน ซึ่งครอบคลุมทั้งการขนส่งทางอากาศ และการเดินอากาศ
- พ.ศ. 2558 ได้มีพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๕๘ ให้โอนบรรดากิจการ อำนาจหน้าที่ ทรัพย์สิน งบประมาณ หนี้ สิทธิและภาระผูกพัน ในส่วนที่เป็นงานเกี่ยวกับท่าอากาศยานและสำนักพัฒนาท่าอากาศยาน กรมการบินพลเรือนไปเป็นของ “กรมท่าอากาศยาน” กระทรวงคมนาคม
เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกำหนดฉบับนี้คือ โดยที่องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศได้ตรวจพบข้อบกพร่องในด้านโครงสร้างและอำนาจหน้าที่ของกรมการบินพลเรือน โดยเฉพาะการแบ่งแยกอำนาจหน้าที่ระหว่างหน่วยงานที่ทำหน้าที่กำกับดูแลและหน่วยงานผู้ให้บริการ โดยได้ปรับปรุงโครงสร้างใหม่ดังนี้
แยกงานกำกับดูแลออกเป็น “สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย”
แยกงานเกี่ยวกับการค้นหาและช่วยเหลือกรณีอากาศยานประสบภัย งานนิรภัยการบิน และงานสอบสวนหาสาเหตุของอุบัติเหตุอากาศยานให้อยู่ในอำนาจหน้าที่ของสำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงคมนาคม
รวมถึงเปลี่ยนชื่อกรมการบินพลเรือน เป็น “กรมท่าอากาศยาน” เพื่อให้สอดคล้องกับงานในหน้าที่หลักที่ปรับปรุงใหม่คือ การให้บริการท่าอากาศยาน
พันธกิจ
- พัฒนาท่าอากาศยานให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ และสามารถรองรับการเจริญเติบโตด้านคมนาคมทางอากาศ
- ดำเนินงานท่าอากาศยานให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล
- บริหาจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์
- พัฒนาท่าอากาศยานเพื่อส่งเสริมโครงข่ายการบินให้ครอบคุมทั่วถึงทุกพื้นที่
- ปรับปรุง บำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐาน สิ่งอำนวยความสะดวก ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล
- พัฒนา และปรับปรุงการบริหารจัดการท่าอากาศยานอย่างมีประสิทธิภาพ
- พัฒนาองค์กรภายใต้หลักธรรมาภิบาล
- บริหารทรัพยากรมนุษย์อย่างมีประสิทธิภาพ
Webmaster –
ปรับปรุงเนื้อหา เมษายน 2561